Home ข้อคิดดีๆ หลังอายุ 30 ปี จะเริ่มตั้งตัวอย่างไร 7 เรื่องที่ต้องคิดไว้ได้แล้วนะ

หลังอายุ 30 ปี จะเริ่มตั้งตัวอย่างไร 7 เรื่องที่ต้องคิดไว้ได้แล้วนะ

หลังอายุ 30 ปี จะเริ่มตั้งตัวอย่างไร? 7 เรื่องที่ต้องคิดไว้ได้แล้วนะ

1. รู้ตัวเองก่อนว่ามีอะไรมากกว่ากันระหว่าง “ท รั พย์สิน” กับ “ห นี้ สิน”

หากว่าเพื่อนๆ มีร า ยได้เดือนนึงหลักหลายห มื่ น แต่กลับมี ร ายจ่ า ยสูง พอๆ กับร า ยรับ

สิ่งที่ควรใส่ใจ อย่ างแรก คือ ลิ สต์รายการของท รั พย์สิน เพื่อเปรียบเทียบกับห นี้สินที่มี

ทั้งหมด แค่นี้ก็พอจะมองออก แล้วใช่มั้ยว่าเพื่อนๆ ต้องเริ่มกลับมาวางแผน การเ งิ นให้

ตัวเองได้แล้ว เริ่มต้นง่ายๆ ที่เริ่ม สะสมท รั พย์สิน ที่ก่อให้เกิด ร ายได้ เช่น หุ้ นกองทุนรวม เป็นต้น

2. เริ่มทยอยปล ดห นี้ให้หมดได้แล้ว

ไม่ว่าจะเป็นค่ าผ่ อ นรถ,ค่ าบัตรเค ร ดิ ต, หรือแม้แต่ค่ าผ่ อน สินค้า 0% ต่างๆ นั่นเพราะยิ่ง

ป ลดห นี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถนำเ งิ น ไปต่อยอดได้มากขึ้นเท่านั้น และถ้ายังไม่แน่ใจว่า

จะป ลดห นี้ยังไงดี แนะนำให้เริ่มจากดูว่า… เรามีห นี้ทั้งหมดกี่ร าย จำนวนเ งิ นที่เป็นห นี้ของ

แต่ละร าย และอัต ร าด อกเบี้ย จากนั้นให้จัดลำดับห นี้ โดยให้หนี้ที่มีอัต ร าดอ กเบี้ ยสูงสุด

อยู่ด้านบน และเริ่มต้นป ล ด ห นี้ จากก้อนนั้นก่อน แล้วค่อยๆ ทยอยปิดห นี้ก้อนอื่นๆ ต่อไปจนหมด

3. สร้างงบการเ งิ นในแบบของตัวเองได้แล้ว

แม้เพื่อนๆ จะหาเ งิ นได้มาก แต่หากบริหารเ งิ นไม่ดี เงิ นที่ได้มาก็จะหายไปง่ายๆ เรียกว่า..

“รวยเดย์รวยกันแค่วันสิ้นเดือน” ดังนั้น สิ่งที่เพื่อนๆ ต้องให้ความสนใจ ในลำดับถัดมา

คือการสร้างงบร ายจ่ าย หากไม่รู้ว่า จะเริ่มต้นยังไง ให้เริ่มต้นจากงบการ เงิ น 50-30-20 ดู

(สิ่งจำเป็น,สิ่งอย ากได้,ออมฉุ กเ ฉิน)

4. คุณต้องมีเ งิ นสำรองฉุ กเ ฉิ นอย่ า งน้อย 6 เดือน

คิดจาก (รายจ่ า ยปกติต่อเดือน x 6เดือน=เ งิ นสำรองฉุ กเ ฉินที่ควรมี) เ งิ นจำนวนนี้

จะช่วยให้เราสามารถรับมือกับปัญ ห าด้านการเ งิ นได้ โดยไม่ต้องกู้ยืมเ งิ นคนอื่น เพราะการ

กู้ยืมเ งิ น อาจจะทำให้เรา กลับเข้าไปอยู่ในวงจ ร ห นี้อีกครั้ง

5. บริหารความเ สี่ ย งให้เป็น

การมีส ติ ช่วยให้เราผ่านทุกปัญ ห าได้ เพราะสิ่งที่เราจะพูดต่อไปนี้ คือเรื่องของความเ สี่ ยง

ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าคุณจะโสดหรือไม่ก็ตาม ความเ สี่ ยงที่ควรพิจารณามี 3 ด้านคือ

6.1 ความเ สี่ ยงด้านชีวิต และสุขภาพ : เริ่มจากการคิดว่า…

หากเราเจ็ บป่ ว ย หรือเกิดเ ห ตุไม่คาดคิด ครอบครัวจะต้องลำบ า ก เพราะข า ดกำลังสำคัญรึเปล่า?

หากคำตอบคือใช่ เราลองบริหาร ความเสี่ ย ง โดยการซื้ อประกันดีมั้ย?

6.2 ความเสี่ยงด้านทรัพย์สิน: นั่นก็คือ หากเราหยุดทำงาน

(ไม่ว่าจะลาออกหรือไม่อย ากล าออกก็ตาม) เรามีความพร้อมรึยัง? หากไม่มีสิ่งแรก ที่ควรทำ คือ

สำรองเ งิ นฉุ กเ ฉิน ประมาณ 6 เดือน ของร า ยจ่ ายเอาไว้ก่อน

6.3 ความเสี่ยงในการดำเนินชีวิต : เช่นหากวันหนึ่ง

เพื่อนๆ ขับรถ แล้วเกิดอุ บั ติเห ตุ เรามีประกันภัยร ถ ย นต์รึเปล่า? ถ้าไม่มีจะซื้ อมั้ย? ซื้ อประกันแบบไหนดี?

6.วางแผนเก ษี ย ณหรือยัง

“แก่ไม่ว่า แต่อ ย่ าแก่แบบไม่มีเ งิ น” ที่บอกแบบนี้ เพราะอย ากให้วางแผนเก ษี ยณกันไวๆ

ยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้นการเริ่มต้น ตั้งแต่ วันนี้ก็เพื่อผลประโยชน์สำหรับเราเอง ไม่ต้องลำบ า กลูกหลาน

7. ศึกษาเรื่องภ า ษีได้แล้ว

ยิ่งร า ยได้มาก ก็อ ย่ าลืมว่าภ า ษี ต้องเพิ่มขึ้น เป็นเงาตามตัว เพราะถือเป็นกฎห ม าย ที่

ทุกคนในชาติ ต้องปฏิบัติตามสิ่งที่เพื่อนๆ ควรศึกษาคือกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภา ษี

ไม่ว่าจะเป็น การลดห ย่ อน หรือการละเว้นใดๆ ก็ตาม

 

ขอขอบคุณที่มา : a o m m o n e y

ขอขอบคุณเจ้าของภาพ

Load More Related Articles
Load More By tour-takja.com
Load More In ข้อคิดดีๆ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Check Also

คน 5 แบบที่คุณควรลืมออกไปจากชีวิต ก่อนที่ความทุกข์จะมาเยือน

คน 5 แบบที่คุณควร “ลืมออกไปจากชีวิต” ก่อนที … …