
10 แนวคิด เงินเดือนน้อย คิดยังไงให้ไม่ทุกข์และมีความสุขได้
1. ถึงทุกอย่ า งที่มีอยู่ไม่แ พ งไม่หรู
แต่ก็ครบครัน ที่พักก็มี การเดินทางก็ไม่ลำบ า กมาก การกินอยู่ก็พออิ่มพอกิน
ได้เข้าสังคมตามโอก า สที่ควร ได้เพื่อนร่วมงานที่ดี เ จ็บป่ ว ย ก็มีค่ารักษาฯลฯ
สิ่งรอบตัวเรามีครบขนาดนี้ ก็ไม่จำเป็นแล้ว ที่จะต้องดิ้ นรนให้เกินฐานะ พอใจ
ในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่นี่แหละความสุขที่แท้จริง
2. โชคดีแค่ไหนแล้วที่มีงานมีเ งิ น
ถ้าคุณกำลังท้ อใจ รู้สึกว่างาน ที่ทำอยู่ทำไมด้อยมูลค่า ด้อยตำแหน่ง
ลองมองในมุมกลับกันว่า “ดีแค่ไหนแล้วที่มีงานทำ” บางคนไม่มีโอก าสที่ดี
เท่าเราด้วยซ้ำไป พวกเขาต้องดิ้ นรนหนักกว่าบ้าง หรือไม่ก็ยอมแพ้ ไม่หางาน
ซะเลยก็มี แต่อย่าใช้ปลอบใจตัวเอง ในวันที่คุณรู้สึกว่างานที่ทำอยู่ มันทำให้
คุณรู้สึกไม่โอเคมากๆ ลาออกเลยดีกว่า อ ย่ าปลอบใจตัวเองถ้ารู้สึกทรมาน
มาหลายหนแล้ว
3. สร้ างมิตรภาพกับคนรอบตัวเข้าไว้
ความสัมพันธ์อันดีต่อเพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน ใครก็ตามที่อยู่ใกล้ๆ เรา
นอกจากเราจะได้รับการแบ่งปัน ในย ามที่เราเ ดื อดร้อนขึ้นมา เช่น
จู่ๆ ก็ไม่สบายหนัก พวกเขา อาจช่วยเราผ่ อ นหนักเป็นเบา ช่วยดูแลเรา
ปฏิเ ส ธไม่ได้หรอกว่า ความสัมพันธ์ มันมาพร้อม กับผลประโยชน์
แต่เราก็เลือกได้นะว่าจะบาลานซ์ ให้เรื่องไหนมาเป็นอันดับแรก
4. ถึงจะออกนอกห้องบ่อยๆ
ก็ไม่ได้แปลว่า เราจะไม่มีเ งิ นเก็บเลย จริงอยู่ว่า..ก้าวเท้าออกไป
นอกบ้านหรือนอกห้อง ก็เท่ากับว่า เรายินยอมที่จะจ่ าย ตั งค์แล้ว
อย่ าเหนียวกับตัวเองไปหน่อยเลย ถ้าวันไหนไม่มีตั งค์หรือเงิ นช็อต
ไม่จำเป็นต้องออกไปใช้เงิ นมากก็ได้ ลองหากิจกรร มง่ายๆ เช่น
ออกไปวิ่งที่สวนสาธารณะ อ ย่าติดนิสัยอยู่ในห้องบ่อยๆ เราควร
แอคที ฟตัวเองบ้าง ร่างกายจิตใจ จะได้แจ่มใสตื่นตัวอยู่เสมอ
ไม่เจ็บป่ ว ยง่าย ไม่รู้สึกน่าเ บื่ อ หรือหดหู่ง่าย เหมือนขังตัวเองอยู่แต่ในห้อง
5. ควรซื้ อของด้วยเ งิ นสด
ไม่ใช้ระบบผ่อนหรือบัตรเคร ดิ ต อย า กได้อะไรพย าย ามเก็บเ งิ นให้ครบ
แล้วค่อยไปซื้ ออย่ าติดนิสัย ซื้ อมาก่อนผ่อนทีหลัง หรือจ่า ยด้วยบัตรเค รดิต
ซึ่งเป็นการนำเอาเงิ นในอนาคตมาใช้ การก่อหนี้โดยไม่จำเป็น ขา ดเหตุผล
อาจทำให้เราไม่มีเงิ นเก็บ
6. อ ย่ าบ่น
ถ้าต้องเดินทางด้วยความลำบ า ก ถ้าคิดแล้วว่า วิธีไหนก็ปลอด ภั ยเหมือนกัน
ให้มองหาการเดินทางวิธีที่ ประหยัดที่สุดเช่น เดินจากที่พักไปออฟฟิศที่ใกล้ๆ
ขึ้นรถโดยสารประจำทาง คุณไม่จำเป็นต้องใช้วิธีสะดวกสบายมาก หากว่า
สุดท้ายแล้ว ต้องรับผิ ดชอบค่ าใช้จ่ าย ในส่วนของพาหนะ เป็นก้อนใหญ่
รองจากค่ าที่พัก
7. โอก า สทางสังคม ไม่จำเป็นต้องแ พ ง
การประหยัดนอกจากไม่ได้แปลว่า การอดมื้อกินมื้อ และไม่ได้
หมายถึง การง ดเข้าสังคมด้วย ไม่จริงเสมอไปว่า มันจะต้องเป็น
ค่ าใช้จ่า ยที่แพ ง ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย
8. กระจายเงิ นเก็บ/ต่อยอดเงิ นเก็บ
เงิ นจากการออมเป็นรายวัน/รายสัปดาห์/รายเดือน ไม่ควรมีในบัญชีเดียว
ควรกระจายแหล่งเ งิ นฝาก เพื่อป้ อ งกันการใช้เ งินแบบไม่มีลิมิต หรือ
กันเงิ นไว้สำหรับ เห ตุฉุ กเ ฉินได้หลายที่ และหากมีเงิ นเก็บมากพอ
ลองต่อยอด เ งิ นคุณจะได้เติบโตมากขึ้น ไม่เป็นยอดนิ่งๆ แค่บัญชีเดียว
แต่เสี ยวไส้ใช้หมดเมื่อไหร่เจ๊งเมื่อนั้น
9. ให้รางวั ลตัวเองแบบพอชื่นใจ
ไม่ถี่มากชอบพอที่จะซื้ ออะไรให้กับตัวเอง ไม่จำเป็นต้องอด ซื้ อ แต่
ลองตั้งเงื่อนไข อะไรให้กับตัวเองสักอย่ า ง เกี่ยวกับงาน เช่น การทำ
ยอดได้ตามเป้าหมาย ถ้าสิ่งที่คิดไว้สำเร็ จจริง นอกจากจะได้แร งจูงใจ
ในการทำงาน มันยังเป็นการเบ ร คตัวเอง ไม่ให้จ่ ายอะไรในก้อนใหญ่
ที่ไม่จำเป็นโดยง่ ายอีกด้วย
10. อย่ าจำกัดสกิลตัวเอง
อย่ าคิดว่าเรามีความสามารถแค่นี้ ก็สมควรที่จะได้ทำงานแค่นี้
รับผิ ดชอบงานแค่ไม่กี่อย่ า ง มีเ งิ นเดือนแค่หลักพัน คุณต้อง
เพิ่มมูลค่า และคุณค่ าให้กับตัวเอง ด้วยการ “อัพสกิล” เช่น
เก็บเ งิ น ไปสอบวัดระดับภาษา ให้ผ่านเพื่อนำผลสอบนั้น ไป
ยื่นเรื่องปรับเ งิ นเดือน หรือย้ายไปสมัครงาน ที่ใหม่ หาร ายได้
เสริมจากทักษะที่ตนเองถนัด ขยันทำโอที เท่าที่จะมีแรงทำได้
(แต่ไม่หนักมากจนหักโห ม)
ขอบคุณที่มา : p r e d i c t – j 5 5
ขอขอบคุณเจ้าของภาพ