5 พฤติกรรม ที่หัวหน้าควรเลิกทำกับลูกน้องได้แล้ว ก่อนจะลาออกกันหมด
1. ตำ ห นิลูกน้องต่อหน้าเพื่อนร่วมงานคนอื่น
ทำไมคุณถึงมีปั ญ ห าอยู่คนเดียว คนอื่นเขาไม่เห็นมีปัญ ห าแบบนี้เลย คุณอย า กได้นู่น
ได้นี่ แต่ผลงานไม่เห็นเคยมีปรากฎเหมือนคนอื่นเลยนะ ถ้อยคำตำ ห นิ ต่อว่าลูกน้อง
ทำนองนี้ต่อหน้าเพื่อนร่วมงาน รวมถึงการเปรี ย บเทียบว่า คนหนึ่งดีแต่อีกคนไม่ดี เป็นการ
ทำให้คนเ สี ยหน้า เ สี ยใจ เ สี ยความรู้สึก ซึ่งเป็นสิ่งที่หัวหน้าไม่ควรทำอย่ า ง ยิ่ง คำแนะนำ
ในการปรับเปลี่ยนคือ ควรเรียกลูกน้อง เข้ามาพูดคุยเป็นการส่วนตัว แล้วพูดถึงพฤติกร ร ม
ที่เฉพาะเจาะจงของเขาไปเลยว่าทำอะไรผิ ด พ ล าด เราอย ากให้เขาปรับปรุงแก้ไข
2. ปิด กั้ น ความคิดเห็นและไอเ ดี ยของลูกน้อง
หลายครั้งหั ว ห น้าหลายๆ คนก็มักชอบพูดทำนองว่า “ไ อ้ ที่เสนอมามันก็ดีนะ แต่ว่าก็
ลองกันมาหมดแล้ว มันไม่เ วิ ร์ ค อ ย่ า เ สี ยเวลาเลย” ฯลฯ ประโยคแบบนี้เป็นอีกหนึ่งสิ่ง
ที่หัวหน้าต้องห ยุ ดพูด เพราะหน้าที่ของหัวหน้าที่ดีคือ ต้องพย าย ามสร้างส ร รค์ให้ลูกน้อง
ก ล้ าพูด ต้องสนับสนุนให้ทุกคนใช้ส ม อง ในการทำงานไม่ใช่หัวหน้าเก็บเอาไว้ คิดคนเดียว
ทำทุกอย่ า งคนเดียว หัวหน้าที่ดีจะต้องสนับสนุนให้ทุกคนทำงาน เพื่อให้เขาเติบโตเพราะเขา
เองก็ส า ม า ร ถทำได้ดี และอย า กทำให้ดีที่สุดในอาชีพของเขาด้วยเหมือนกัน
3. พูดจาแนะนำ สอนสั่ง โดยไม่ให้เกี ย ร ติ
“โชคดีแค่ไหนแล้วที่ยังมีงาน ให้ทำในช่วงวิกฤ ต แบบนี้” ถือเป็นพฤติก ร ร ม ที่ไม่ควรทำ
เพราะลูกน้องของเราก็เป็นผู้ใหญ่ เป็นเพื่อนร่วมงานของเราซึ่งการสอนผู้ใหญ่จะไม่เหมือนกับ
พวกเขาต้องการแ ร ง จูงใจต้องการประโยชน์ ที่จะได้รับจากการทำตามที่เราแนะนำ ลูกน้อง
ทุกคนต้องการความเค า รพ การให้เกียรติ เช่นเดียวกันกับเรา
4. ทำให้ความผิ ด ของพนักงานส่วนน้อย กระทบกับบรรย ากาศการทำงานโดยภาพรวม
เช่นในกรณีแค่เรื่องมาส า ยของลูกน้องคนเดียว แต่เราโก ร ธ มาก เพราะรู้สึกว่าเขาไม่รับผิ ดชอบ
เห็นแก่ตัว จึงออกคำสั่งกับลูกน้องทุกคนว่า “การมาสายเป็นสิ่งไม่ถูกต้อง ต่อไปนี้ทุกคน
ต้องมาทำงานให้ตรงเวลาไม่เช่นนั้นจะถูกลงโท ษอย่ า ง รุ น แ ร ง” พร้อมกับส่งอีเมล
กำชับให้ทราบโดยทั่วกัน การกระทำลักษณะนี้ ของหัวหน้า ถือเป็นการเอาความผิ ด เล็กๆ ของ
คนๆ เดียวมาเหมารวมทุกคน ทำให้เป็นเรื่องใหญ่เอาความผิดของคน 1 คนมาทำล าย ขวัญ
กำลังใจ
5. กล่าวคำชมเชยแบบไม่เฉ พ าะเจาะจง
บางครั้งหัวหน้าก็อย า กสวมบทบาท เป็นนางฟ้าที่คอยชื่นชมให้กำลังใจพนักงาน แต่คำชม
ของเราบางทีก็กว้างเกินไป ไม่เฉพาะเจาะจง จนบางครั้งลูกน้องรู้สึกว่า
“หัวหน้าเสแ ส ร้ ง” เช่น วันนี้ทุกคนทำดีมาก โอ้ ประเ ส ริ ฐ ยอดเยี่ยม คำชมทำนองนี้มี
ลักษณะกว้างเกินไป ควรปรับให้มีความเฉพาะเจาะจงลงไปเลย เช่น วันนี้ตอนที่น้องแก้
ปั ญ ห า ให้ลูกค้า น้องใช้เทคนิคการแก้ปั ญ ห าที่ตอบโจทย์ลูกค้าได้ตรงประเด็น น้องใช้
น้ำเสียงไพเ ร าะ ยิ้มแย้มแจ่มใส พี่ขอบคุณมากนะคะ เป็นต้นการกล่าวคำชมแบบเฉพาะ
เจ าะจง พฤติก ร ร ม จะทำให้เกิดการทำซ้ำแล้วซ้ำอีกในวิธีการทำงานที่ถูกต้อง ซึ่งส่งผลดี
ต่อประสิทธิภาพในการทำงานมากยิ่งขึ้น
ขอบคุณที่มา : p a n j i t
ขอขอบคุณเจ้าของภาพ