รู้ไหม? ทำไมชาวสวิตเซอร์แลนด์ ถึงไม่สอนลูก “ออมเงิน” แต่รวยติดอันดับโลก
อีกรายการหนึ่งที่ พี่วิลลี่ แมคอินทอช ได้ให้สัมภ า ษ ณ์ในรายการหนึ่งเกี่ยวกับหลักการใช้ชีวิตของเขา
บ้านเรามักจะสอนลูกสอนหลานอยู่เสมอว่า…“ต้องรู้จักประหยัดอดออม จะได้มีเงินมีทองไม่ลำบ าก”
ซึ่งมันก็เป็นสิ่งที่ดี แต่การประหยัดอดออมอย่ า ง เดียวไม่ใช่หนทางที่จะนำไปสู่ความร่ำ รว ยได้
แต่ในประเทศที่รวยติดอันดับต้นๆ ของโล กอย่ า ง “ส วิ ต เ ซ อ ร์ เ เ ล น ด์” ไม่ได้เน้นให้รู้จักแต่การ
ออมเงินเพียงอย่ า งเดียว แต่เป็นประเทศที่ร ว ยติดอันดับโลก พวกเขาทำได้อย่ า งไร และมีเคล็ดลับ
อะไรในการสอนลูกๆ ในเรื่องของการเงิน ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า ความคิดเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะกำหนด
สิ่งต่างๆ เพราะพวกเขามีความคิดที่ว่า การที่จะมีคุณภาพทางการเ งิ นที่ดี หรือการที่จะร ว ยได้นั้น ต้องมี
ความเข้าใจใน “มูลค่า” และ “คุณภาพ” ให้ได้ก่อน
6 สิ่งพื้นฐานด้านการเ งิ น ที่คนสวิตเซอร์แลนด์สอนลูก
1. สอนให้ลูกซื้ อ ของที่คุ้มค่าที่สุด ไม่ใช่ซื้ อ ของที่ถูกที่สุด
ของถูกใช่ว่าจะดี ของแ พ ง ใช่ว่าจะไม่คุ้ม เวลาที่จะตัดสินใจ ซื้ ออะไรสักอย่ า ง ต้องคำนวณดูว่าสิ่งนั้น
คุ้มค่ากับราคาที่จ่ า ยไหม เช่น หากอยากซื้ อ โทรศัพท์ สักเครื่องในราคา 35,000 บาท แต่สามารถใช้
ในระยะยาวได้ 5 ปี ( เฉลี่ยแล้วตกปีละ 7,000 บาท ) ในขณะที่ไปซื้ อ โทรศัพท์ที่ถูกกว่านี้ในราคา
18,000 บาท แต่ใช้ได้แค่ 2 ปี เครื่องก็เริ่มค้ า ง เริ่มช้า จนในที่สุดต้องเปลี่ยนเครื่องใหม่ (เฉลี่ยแล้วตก
ปีละ 9,000 บาท ) แสดงว่าเครื่อง 18,000 ก็มีราคาแ พ งกว่า เป็นการสอนวิธีคิดว่า ซื้ อยังไงให้คุ้มค่า
เมื่อต้องเทียบร า ค ากับ คุณภาพ และ อายุการใช้งาน
2. การออมเ งิ นเป็นสิ่งที่ดี แต่การลงทุนเป็นสิ่งที่สร้างกำ ไ ร
ออมเงินอย่ า งเดียวใช่ว่าจะร ว ย หรือ เป็นมหาเศ ร ษ ฐีได้เลย การออมเ งิ นเป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น
ทำไมธน า ค ารต้องการให้เราไปฝากเ งิ นละ..? เพราะ เขาจะเอาเ งิ นที่เราฝากไว้ไปปล่อยกู้ หรือสร้าง
ธุรกิจอื่นๆ ต่อไง ผลลัพธ์ก็เป็นอย่ า งที่เห็น ธนาคารมีผลกำไ ร มากขึ้น บริษัทใหญ่โตขึ้น และขย า ย
กิจการไปได้เรื่อยๆ นี่จะเป็นเหตุผลที่ว่า การออมเ งิ นนั้นเป็นเพียงจุดเริ่มต้น แต่การนำเ งิ นที่ออมได้
ไปลงทุนต่อยอดเป็นสิ่งที่ดีกว่า
3. สอนให้ตั้งเป้าหมาย แต่ไม่บังคับให้ออมเ งิ น
เขาจะสอนให้ลูกออมเ งิ น แต่ไม่จำเป็นจะต้องทำทุกวัน หรือบั ง คั บว่าต้องได้ขั้นต่ำเท่านั้นเท่านี้ แต่
ปล่อยให้ลูกๆ ได้เรียนรู้ และสมัครใจที่จะทำเองมากกว่า เพราะถ้าบังคับจะยิ่งเป็นการก ด ดั น ลูก ลูกก็
จะไม่มีความสุขในการออมเ งิ น แต่ยิ่งไม่อยากทำในสิ่งที่เราสอนขึ้นไปอีก
4. ให้ประหยัดเวลา มากกว่าที่จะประหยัดเ งิ น
พวกเขาจะให้ความสำคัญกับ “เวลา” เป็นอย่ า งมาก เพราะเวลาเป็นสิ่งมี ค่ า เป็นทรัพยากรที่ใช้แล้ว
หมดไป ไม่ส า ม า ร ถซื้ อ มาทดแทนได้อีก แต่ เ งินจะหาเมื่อไหร่ก็ได้ หากยังมีเวลาให้เราได้ลงมือ
ลงแ ร ง และใช้ความคิดหาทางเพื่อที่จะสร้างเ งิ น
5. สอนให้วางแผนการเ งิ น พร้อมกับการวางแผนอาชีพ
พวกเขาจะสอนให้ลูกรู้ว่า เมื่อถึงวัยทำงาน เราจะต้องจ่ า ยภ า ษีให้รั ฐ บ า ลไปเท่าไหร่ และเมื่อเรา
เ ก ษี ย ณ เราจะได้เ งิ นคืนมาเท่าไหร่? เมื่อมองเห็นภาพรวมแบบนี้ ก็จะทำให้ลูกๆ รู้จักวางแผนชีวิต
ของตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ ว่าต้องทำงานอะไร ประกอบอาชีพอะไร ถึงจะมีร า ยได้อย่ า งที่ต้องการ รู้จัก
วางแผนชีวิตไว้ จะได้ไม่เดินทางสะเปะสะปะ ซึ่งเป็นผลดีกับชีวิตเขาในระยะยาว
6. สอนเรื่องการใช้เ งิ น เมื่อต้องมีความรัก
เรื่องแบบนี้อาจจะดูเหมือนว่าเร็วเกินไปสำหรับลูกน้อย แต่พ่อแม่ชาวสวิตเขาสอนลูกตั้งแต่ 7-8 ขวบ
อธิบายให้ลูกเข้าใจว่า หากลูกมีความรัก หรือต้องใช้ชีวิตกับใครสักคน จะต้องมีค่ า จ่ า ยอะไรบ้างใน
ชีวิต ไม่ว่าจะเป็น ค่ า บ้าน ค่ า น้ำ ค่ า ไ ฟ ค่ ากิน และอีกหลายๆ อ ย่า ง และการสอนให้ลูกเห็นถึง
ความเป็นจริงนี้เอง จะทำให้ลูกเข้าใจว่า มีค่ าใช้จ่ า ยเยอะแค่ไหนที่ต้องรับผิ ด ชอบ
และทั้งหมดนี้ก็เป็นแนวคิดของคน ส วิ ต เ ซ อ ร์ แ ล น ด์ ที่ใช้สอนลูกเรื่องการ เงิ น ซึ่งมันเป็นประโยชน์
ที่สามารถนำไปปรับใช้กับเราได้ด้วยเช่นกัน…
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : เพจ Switzerland / Swiss Tours พาเที่ยวโดยคนในสวิส
ขอขอบคุณเจ้าของภาพ